หน้าแรก » ความผันแปรและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกและประเทศไทย
  • เข้าสู่ระบบ
  • ความเป็นมาของศูนย์ภูมิอากาศ
  • การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลกและของประเทศไทย
    • การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
    • ภาวะเรือนกระจก
    • ภาวะโลกร้อน
    • ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่มีผลต่อสุขอนามัยของมนุษย์
    • ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่มีผลต่อการผลิตอาหาร
    • ความผันแปรและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกและประเทศไทย
    • ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่มีผลต่อการเพิ่มสูงขึ้นของระดับน้ำทะเล
    • Climate change projection product by Metview
    • ชุดข้อมูลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
    • โปสเตอร์ภาวะโลกร้อน
  • การติดตามสภาพภูมิอากาศ
    • สถิติภูมิอากาศคาบ 30 ปี พ.ศ. 2524-2553
    • สถิติภูมิอากาศ
    • ลักษณะอากาศรายจังหวัด
    • ลักษณะอากาศประจำถิ่น
    • สถิติพายุหมุนเขตร้อน
    • สถิติพายุหมุนเขตร้อน (แผนที่)
    • Monthly Climate Data
  • การสรุปลักษณะอากาศ
    • การสรุปลักษณะอากาศ รายสัปดาห์ (ทุกวันจันทร์)
    • การสรุปลักษณะอากาศ รอบ 7 วัน (ทุกวันศุกร์)
    • การสรุปลักษณะอากาศ รายเดือน
    • การสรุปลักษณะอากาศ รายปี
  • การพยากรณ์อากาศระยะนาน
    • คาดหมายลักษณะอากาศรายปักษ์
    • คาดหมายลักษณะอากาศราย 4 สัปดาห์
    • คาดหมายลักษณะอากาศราย 1 เดือน
    • คาดหมายลักษณะอากาศราย 3 เดือน
    • คาดหมายลักษณะอากาศรายฤดูกาล
    • การคาดหมายลักษณะอากาศเพื่อการท่องเที่ยว
  • การคาดการณ์ภูมิอากาศจากแบบจำลอง
    • การคาดการณ์ภูมิอากาศรายฤดูกาลด้วยวิธีการทางสถิติ
    • การคาดการณ์ภูมิอากาศทั่วโลก / ประเทศไทย
  • ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
    • ความหมาย
    • การติดตามและการคาดหมาย
  • ดัชนีภูมิอากาศ
  • บทความ / เอกสารวิชาการ
    • เอกสารวิชาการ
    • บทความ
  • การประชุมสัมมนา/KM
  • ดาวน์โหลดข้อมูลภูมิอากาศ
  • ติดต่อเรา
  • เว็บลิงค์
      • ศูนย์อุตุนิยมวิทยาในภูมิภาค
      • ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ
      • ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
      • ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
      • ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคใต้ฝั่งตะวันออก
      • ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคใต้ฝั่งตะวันตก
      • เว็บไซต์หน่วยงานภายในกรม
      • สำนักเครื่องมืออุตุนิยมวิทยา
      • ภูมิสารสนเทศอุตุนิยมวิทยา
      • อุตุนิยมวิทยาการบิน
      • อุตุนิยมวิทยาอุทก
      • อุตุนิยมวิทยาทะเล
      • โอโซนและรังสีดวงอาทิตย์
      • สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
      • เว็บไซต์อุตุนิยมวิทยาอื่น ๆ
      • องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก World Meteorological Organization(WMO)
      • ประเทศสมาชิกองค์การอุตุนิยมวิทยาโลก WMO Members
      • The Global Data-Processing and Forecasting System
      • European Centre for Medium Range Weather Forecasts (ECMWF).
      • Joint Typhoon Warning Center.
      • โอโซนและรังสีดวงอาทิตย์
      • สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
  • แบบสอบถามออนไลน์
enso-bars.195001.201912.png ความผันแปรและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกและประเทศไทย 2562
สร้าง: 29/06/2563 (แก้ไข: 29/06/2563)
ปี 2562 อิทธิพลของปรากฏการณ์เอลนีโญและ IOD ที่มีสถานะเป็นบวกส่งผลต่ออุณหภูมิเฉลี่ยของโลกทำให้อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกในปีนี้มีค่าสูงสุดเป็นอันดับที่ 2 ในรอบ 140 ปี (พ.ศ.2423-2562) รองจากปี 2559 ที่เป็นปีที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงที่สุดของโลก
2019-10-02_152607.png ความผันแปรและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกและประเทศไทย (2561)
สร้าง: 02/10/2562
ปี พ.ศ. 2561 เป็นปีที่อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกมีค่าสูงสุดเป็นอันดับที่ 4 ในรอบ 139 ปี (พ.ศ. 2423-2561) และในช่วง 4 ปีที่ผ่านมาระหว่างปีพ.ศ. 2558 ถึง 2561 เป็นช่วงที่อุณหภูมิโลกสูงสุดติด 4 อันดับแรกในประวัติศาสตร์
2019-10-02_152251.png ความผันแปรและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกและประเทศไทย (2560)
สร้าง: 02/10/2562 (แก้ไข: 02/10/2562)
ปี 2560 มีอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกต่ํากว่าปี 2559 ซึ่งเป็นปีเอลนิโญรุนแรง แต่นับเป็นปีที่ร้อนที่สุดที่ไม่ได้รับอิทธิพลจาก ปรากฏการณ์เอลนิโญ โดยอุณหภูมิเฉลี่ยทั่วโลกในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ.2556-2560) มีค่าสูงกว่าค่าเฉลี่ยในช่วงก่อนปฏิวัติ อุตสาหกรรม (พ.ศ.2423-2443) ประมาณ 1 องศาเซลเซียสและเป็นค่าเฉลี่ยในรอบ 5 ปีสูงที่สุดเท่าที่เคยบันทึกไว้
Global average temperature anomaly.png ความผันแปรและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกและประเทศไทย (2559)
สร้าง: 28/03/2560 (แก้ไข: 28/03/2560)
องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกได้เผยแพร่และยืนยันผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากหลายศูนย์ติดตามข้อมูลสภาพอากาศและภูมิอากาศระดับโลก ว่าปี 2559 เป็นปีที่ร้อนที่สุดของโลก
cc2558.jpg ความผันแปรและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกและประเทศไทย (2558)
สร้าง: 30/05/2559 (แก้ไข: 30/05/2559)
ปี 2558 นับเป็นปีที่ร้อนที่สุดของโลกอีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกสูงที่สุดเท่าที่มีการบันทึกมาตั้งแต่ ปี พ.ศ.2393 โดยสูงกว่าค่าเฉลี่ยในช่วงปี พ.ศ.2504-2533 (14 องศาเซลเซียส) 0.73 องศาเซลเซียส และสูงกว่าอุณหภูมิเฉลี่ยในช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรม (พ.ศ.2423-2442) เกือบ 1 องศาเซลเซียส นอกจากนี้ยังพบว่าอุณหภูมิผิวโลกเฉลี่ยช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ.2554-2558) เป็นช่วงที่ร้อนที่สุดด้วยเช่นเดียวกัน
CC57.bmp ความผันแปรและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกและประเทศไทย (2557)
สร้าง: 21/07/2558 (แก้ไข: 21/07/2558)
หลายสถาบันได้สรุปว่าปี ค.ศ. 2014 หรือ พ.ศ. 2557 เป็นปีที่ร้อนที่สุดของโลก นับตั้งแต่มีการบันทึกข้อมูลมาเมื่อปี ค.ศ. 1850 หรือ พ.ศ. 2393 โดยอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดทั้งปีสูงกว่าค่าปกติ 0.69 องศาเซลเซียส มากกว่าสถิติเดิมที่เคยบันทึกไว้ 0.04 องศาเซลเซียส
จำนวนผู้เข้าชม
1 5 6 3 6 1 7
สงวนลิขสิทธิ์ © 2021 กรมอุตุนิยมวิทยา
การนำข้อมูลบนเว็บไซต์นี้ไปใช้ให้อยู่ภายใต้เงื่อนไขของกรมอุตุนิยมวิทยาตามพรบ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537